Menu
Home
Products
Accounting Software
Prosoft WINSpeed
Human Resource Management
Prosoft HRMI
Employee Self Service (ESS)
Customer Relationship Management
Prosoft CRM
Logistics Management
Prosoft GPS
Other Products
Prosoft POS
Asset Management
Services
บริการหลังการขาย (MA)
อบรม Online (E-learning)
จองอบรม (In House)
คำถามที่พบบ่อย (FAQs)
คู่มือการใช้งาน (Help)
วิธีการชำระเงิน (Payment)
Customers
Site Reference
Prosoft WINSpeed
Prosoft HRMI
Success Stories
บรรยากาศการอบรม
More
ข่าวสาร
บทความ
About Us
Company Profile
Organization
Management Team
Our Business
Award & Standard
Prosoft Group
Our Family
Social Enterprise
Job Opportunity
Gallery
Office Location
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
ติดต่อฝ่ายขาย จันทร์-ศุกร์ 08:30-17:45 น.
081-359-6920
,
02-402-6117
sale@prosoft.co.th
หน้าแรก
More
บทความ
บทความ
ย้อนกลับ
หน้าแรก
More
บทความ
หมวดหมู่ทั้งหมด
News & Events
ข่าวสาร
บทความ
การตลาด
การบริการ
การเงินและบัญชี
บริหารธุรกิจ
บริหารงานบุคคล
ค้นหา
บทความ
1246 รายการ
"E-Refund" ลดหย่อนภาษี 50,000 บาท เริ่ม 1 ม.ค. 2567
"E-Refund" ลดหย่อนภาษี 50,000 บาท เริ่ม 1 ม.ค. 2567
โครงการ e-Refund ปลอบใจคนพลาดสิทธิดิจิทัลวอลเล็ต สามารถนำค่าซื้อสินค้า-บริการลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 5 หมื่นบาท เริ่ม 1 ม.ค.67 คาดระยะเวลาใช้จ่ายนาน 45 วัน
อ่านต่อ
65 ผู้เข้าชม
ความแตกต่างระหว่างมาตรฐาน TFRS PAEs กับ NPAEs
ความแตกต่างระหว่างมาตรฐาน TFRS PAEs กับ NPAEs
ก่อนที่จะไปทำความรู้จัก PAEs กับ NPAEs เรามาทำความรู้จักกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยก่อนเลย ซึ่งประเทศไทยมีมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards -TFRSs) ที่อ้างอิงจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards – IFRSs) เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวใช้กับนิติบุคคลที่มีหน้าที่จัดทําบัญชี ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ไม่ว่าจะเป็นบริษัทจดทะเบียนที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หรือนิติบุคคลทั่วไปที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์แต่โดยที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สําหรับ กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (PubliclyAccountable Entities- PAEs) และมีความยุ่งยากซับซ้อน จากการใช้แนวคิดมูลค่ายุติธรรม (Fair Value) เป็นหลักในการจัดทํารายงานทางการเงิน ซึ่งเป็นภาระและก่อให้เกิดต้นทุนในการจัดทํารายงานการเงินของ กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities- NPAEs) ที่ส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก
อ่านต่อ
71 ผู้เข้าชม
ภ.ง.ด.53 คืออะไร
ภ.ง.ด.53 คืออะไร
การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เป็นหน้าที่ของผู้ที่จ่ายเงินส่วนผู้ที่รับเงินได้นั้นจะเป็นผู้ที่ถูก โดยหากมีการหักภาษี ณ. ที่จ่ายกับจะใช้แบบยื่น ภ.ง.ด.3 แต่หากหักกับนิติบุคคลจะใช้แบบยื่น ภ.ง.ด.53 ใบบทความนี้เราจะพูดถึงการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่เป็นนิติบุคคลกัน
อ่านต่อ
41 ผู้เข้าชม
รู้หรือยัง ตั้งแต่มกราคม 2567 เป็นต้นไป ยกเลิกการยื่นแบบกระดาษสำหรับ ภ.ง.ด.1 และ ภ.ง.ด.1ก แล้วนะ
รู้หรือยัง ตั้งแต่มกราคม 2567 เป็นต้นไป ยกเลิกการยื่นแบบกระดาษสำหรับ ภ.ง.ด.1 และ ภ.ง.ด.1ก แล้วนะ
กรมสรรพากรประกาศ โดยให้นายจ้างยื่นแบบยื่นรายการภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.1, ภ.ง.ด.1ก, ภ.ง.ด.1ก พิเศษ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น โดยเริ่มบังคับใช้เต็มรูปแบบกับการจ่ายเงินได้เดือนภาษีมกราคม พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป
อ่านต่อ
956 ผู้เข้าชม
ทำความรู้จักกับบัญชีแยกประเภท?
ทำความรู้จักกับบัญชีแยกประเภท?
บัญชีแยกประเภท หมายถึง บัญชีที่รวบรวมการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นไว้เป็นหมวดหมู่ หลังจากการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป เรียบร้อยแล้ว จัดเรียงลำดับผังบัญชีของกิจการ เช่น บัญชีเงินสด เป็นบัญชีที่รวบรวมรายการค้าที่เกี่ยวกับเงินสด บัญชีลูกหนี้ เป็นบัญชีที่รวบรวม รายการค้าที่เกี่ยวกับลูกหนี้ การบันทึกรายการในแต่ละบัญชี จะบันทึกไม่ปะปนกันเพื่อให้ตรงตามข้อเท็จจริง เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และสะดวก ในการค้าหาหรือแก้ไขข้อผิดพลาด
อ่านต่อ
862 ผู้เข้าชม
การวาง “ระบบบัญชี” คืออะไร ? และวางทำไม ?
การวาง “ระบบบัญชี” คืออะไร ? และวางทำไม ?
การวางระบบบัญชีเพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดเก็บข้อมูลทางบัญชีและการเงิน อันประกอบด้วยเอกสารต่างๆ บันทึกทางการบัญชี รายงาน เพื่อช่วยให้ฝ่ายจัดการสามารถปฏิบัติหน้าอันอยู่ในความรับผิดชอบของตนให้ลุล่วงไปด้วยดีสำหรับใช้เป็นเครื่องวัดผลการดำเนินงานในรอบระยะเวลาที่ผ่านมา อีกทั้ง ธุรกิจจำเป็นต้องมีระบบบัญชีที่ดี เพื่อที่จะเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในด้านการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
อ่านต่อ
383 ผู้เข้าชม
ภาษีการนำเข้าและส่งออกสินค้าประเภทอาหาร
ภาษีการนำเข้าและส่งออกสินค้าประเภทอาหาร
การนำเข้าอาหารและการส่งออกอาหาร เพื่อบริโภคส่วนตัวทางไปรษณีย์ระหว่างประเทศ หรือการนำติดตัวเข้ามา สามารถทำได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาตนำเข้า แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขดังนี้
อ่านต่อ
298 ผู้เข้าชม
ภาษีสำหรับธุรกิจสุขภาพและความงาม
ภาษีสำหรับธุรกิจสุขภาพและความงาม
ในเมืองใหญ่ๆ ทั่วประเทศไทย มีการเปิดธุรกิจสุขภาพและความงาม ทั้งฟิตเนส อาหารเสริม สปา นวดหน้า นวดตัว คลีนิกรักษาสิว ดูแลผิวพรรณ รวมทั้งการทำศัลยกรรมตกแต่ง เพื่อเสริมสร้างบุคลิกภาพและเพิ่มความมั่นใจ ทั้งในรูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ ซึ่งเปิดดำเนินการโดยผู้ประกอบการที่มีความรู้ทางด้านสุขภาพ และการเสริมความงาม และเปิดดำเนินการโดยระบบแฟรนไชส์ ซึ่งมีประเด็นทางภาษีอากรที่เกี่ยวข้อง จึงขอนำมากล่าวดังนี้
อ่านต่อ
238 ผู้เข้าชม
8 รายจ่ายต้องห้ามทางภาษี
8 รายจ่ายต้องห้ามทางภาษี
แรงจูงใจหลักในการที่จะทำให้บริษัทหนึ่งจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลก็คงจะหนีไม่พ้นสิทธิที่บริษัทเสียภาษีบนฐานของผลกำไรของบริษัท กล่าวคือบริษัทสามารถหักรายจ่ายต่างๆออกจากรายได้ได้ตามจริง และเงินได้ของบริษัทที่จะเสียภาษีก็จะเป็นแค่ส่วนของผลกำไรของบริษัทเท่านั้น ไม่ใช่ต้องเสียจากรายได้หรือเหมารายจ่ายได้สูงสุดเพียง 60% เช่นที่ต้องเสียในระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
อ่านต่อ
248 ผู้เข้าชม
เบี้ยปรับ เงินเพิ่มกรมสรรพากร
เบี้ยปรับ เงินเพิ่มกรมสรรพากร
จากคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 40/2560 เรื่อง เบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีอากร และค่าปรับอาญา ตามมาตรา 65 ตรี (6) แห่งประมวลรัษฎากร คณะกรรมการฯ ได้มีคำวินิจฉัยว่า เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร และค่าปรับทางอาญาดังกล่าวให้หมายความรวมถึง “เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร และค่าปรับทางอาญาตามกฎหมายภาษีอากรทุกประเภท” นั้น
อ่านต่อ
1716 ผู้เข้าชม
พาพนักงานไปเที่ยว VS สัมมนานอกสถานที่ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทได้หรือไม่ ?
พาพนักงานไปเที่ยว VS สัมมนานอกสถานที่ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทได้หรือไม่ ?
การพาพนักงานไปเที่ยวต่างจังหวัดทางกรมสรรพากรถือว่าเป็นผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากหน้าที่การงานของพนักงานดังนั้นจะถือเป็นเงินได้ของพนักงานเพื่อนำไปรวมในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดาไปเที่ยวพักผ่อนประจำปีต้องเสียงภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเพิ่ม
อ่านต่อ
4595 ผู้เข้าชม
ขั้นตอนการจ่ายภาษีของบริษัทนิติบุคคล
ขั้นตอนการจ่ายภาษีของบริษัทนิติบุคคล
ธุรกิจนิติบุคคลหรือการดำเนินธุรกิจที่มีเจ้าของกิจการอยู่รวมกันมากกว่า หนึ่งคนขึ้นไปนั้น ไม่ว่าจะอยู่ในรูปลักษณะของบริษัททั่วไปทั้งธรรมดาและมหาชน ห้างหุ้นส่วนจำกัด กิจการร่วมค้า มูลนิธิหรือสมาคม ฯลฯ
อ่านต่อ
10648 ผู้เข้าชม
85414 ผู้เข้าชม
«
1
2
3
4
5
6
...
104
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 7 รายการ)
ติดต่อเจ้าหน้าที่
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com